ผลสำรวจของนิด้าโพล

ผลการสำรวจโพลประจำสัปดาห์
  • 1

    สองมาตรการใหม่ คน กทม จะเอาไง

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 15 ธ.ค. 2567

  • 2

    ประชามติและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 08 ธ.ค. 2567

  • 3

    ยุบพรรค ตัดสิทธิทางการเมือง

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 01 ธ.ค. 2567

  • 4

    พรรคประชาชนเปิดหน้าชนพรรคเพื่อไทย

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 24 พ.ย. 2567

  • 5

    มีใครเข้าใจประเด็นโต้แย้งเรื่อง MOU 44 และเกาะกูด บ้าง

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 17 พ.ย. 2567

การปฏิรูปประเทศ การปรองดอง และการเลือกตั้ง

วันที่อัพเดทล่าสุด : 26.03.2566

ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง “การปฏิรูปประเทศ การปรองดอง และการเลือกตั้ง” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 24  – 26 มกราคม 2560  จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปี ขึ้นไปกระจายทุกระดับการศึกษา และอาชีพ  รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,250 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ และสิ่งที่ต้องการให้รัฐบาลทำมากที่สุดในขณะนี้  การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างด้วยความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” ด้วยวิธีแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแบ่งชั้นภูมิตามภูมิภาค จากนั้นในแต่ละภูมิภาค สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่นที่ ร้อยละ 95.0 และมีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (Standard Error: S.E.) ไม่เกิน 1.4    

 

จากการสำรวจเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ พบว่า ด้านการเมือง ร้อยละ 22.08 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 28.96  ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 33.20 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 9.12 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 4.48 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง และร้อย

 

ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน  พบว่า ร้อยละ 22.64 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 35.92 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 26.16 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 9.04 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 3.84 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง และ ร้อยละ 2.40 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 15.76 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 27.04 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 28.24 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 17.84 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 9.04 ระบุว่า ไม่

 

ด้านการปกครองท้องถิ่น ร้อยละ 12.00 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 24.96 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 33.44 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 19.84 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 7.44 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง และ ร้อยละ 2.32 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

ด้านการศึกษา ร้อยละ 15.36 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง   ร้อยละ 32.56 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 29.60 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 16.16 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 4.88 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง และ ร้อยละ 1.44 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ  

 

ด้านเศรษฐกิจ ร้อยละ 6.16 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 20.56 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 30.96 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 27.04 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 14.56 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง และ ร้อยละ 0.72 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

ด้านพลังงาน ร้อยละ 9.04 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 30.56 ระบุว่า  ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 35.52 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 18.40 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 3.84 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง และ ร้อยละ 2.64 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 15.04 ระบุว่า  พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 40.00 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 30.72 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 10.40 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 2.96 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง และ ร้อยละ 0.88 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

ด้านการสื่อสารมวลชน ร้อยละ 14.96 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง  ร้อยละ 38.88 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 28.32 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 12.16 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 3.36 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 2.32 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

ด้านสังคม ร้อยละ 15.36 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 37.92 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 28.40 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 12.88 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 4.40 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 1.04 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

ด้านกีฬา ศิลปะ วัฒนธรรม การศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม ร้อยละ 16.40 ระบุว่า พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 33.28 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 28.24 ระบุว่า เฉย ๆ ร้อยละ 11.84 ระบุว่า ไม่พอใจ ร้อยละ 5.36 ระบุว่า ไม่พอใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 4.88 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

สำหรับความคิดเห็นของประชาชนต่อเรื่องที่ต้องการให้มีการปฏิรูปมากที่สุด พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่  ร้อยละ 33.28 ระบุว่า เป็นด้านเศรษฐกิจ รองลงมา ร้อยละ 16.00 ระบุว่า เป็นด้านการศึกษา ร้อยละ 14.72 ระบุว่า เป็นด้านการเมือง ร้อยละ 11.76 ระบุว่า เป็นด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 6.00 ระบุว่า เป็นด้านการปกครองท้องถิ่น ร้อยละ 4.16 ระบุว่า เป็นด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ร้อยละ 3.68 ระบุว่า เป็นด้านสังคม ร้อยละ 1.84 ระบุว่า เป็นด้านกีฬา ศิลปะ วัฒนธรรม การศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม ร้อยละ 1.36 ระบุว่า เป็นด้านพลังงาน และด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ในสัดส่วนที่เท่ากัน ร้อยละ 0.32 ระบุว่า เป็นด้านการสื่อสารมวลชน ร้อยละ 0.80 ระบุว่า ควรปฏิรูปทุก ๆ ด้าน ไปพร้อม ๆ กัน ร้อยละ 0.40 ระบุว่าทุกอย่างดีอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องปฏิรูป  และร้อยละ 4.32 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

 

ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อสิ่งที่ต้องการให้ คสช. ทำก่อนเป็นอันดับแรก ในช่วงเวลานี้ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่  ร้อยละ 36.56 ระบุว่า เป็นการปฏิรูปประเทศ รองลงมา ร้อยละ 28.24 ระบุว่า เป็นการเลือกตั้ง ร้อยละ 26.96 ระบุว่า เป็นการปรองดอง ร้อยละ 3.04 ระบุว่า เป็นการปฏิรูปประเทศกับการปรองดอง ร้อยละ 1.68 ระบุว่า เป็นการปรองดองกับการเลือกตั้ง ร้อยละ 0.88 ระบุว่า เป็นการปฏิรูปประเทศกับการเลือกตั้ง และร้อยละ 2.64 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ

ผลการสำรวจโพลประจำสัปดาห์
  • 1

    สองมาตรการใหม่ คน กทม จะเอาไง

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 15 ธ.ค. 2567

  • 2

    ประชามติและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 08 ธ.ค. 2567

  • 3

    ยุบพรรค ตัดสิทธิทางการเมือง

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 01 ธ.ค. 2567

  • 4

    พรรคประชาชนเปิดหน้าชนพรรคเพื่อไทย

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 24 พ.ย. 2567

  • 5

    มีใครเข้าใจประเด็นโต้แย้งเรื่อง MOU 44 และเกาะกูด บ้าง

    วันที่อัพเดทล่าสุด : 17 พ.ย. 2567

นิด้าโพล
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
เลขที่ 148 ถนนเสรีไทย
แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ
กรุงเทพมหานคร 10240

ติดต่อเรา

ฝ่ายโพลสาธารณะ :
02 727 3596
, 02 727 3028

ฝ่ายธุรกิจโพล :
02 727 3618
, 02 727 3387

ฝ่ายประชาสัมพันธ์ :
02 727 3089

โทรสาร :
02 727 3590

อีเมล : nida_poll@nida.ac.th

Copyright © 2020. All Rights Reserved. nidapoll.nida.ac.th